ค่าตัวเลขในตารางเหล็กมาจากไหน EP. 2

ค่าตัวเลขในตารางเหล็กมาจากไหน EP. 2


หมวดหมู่:วัสดุช่าง วันที่:2021-06-08

 ค่าตัวเลขในตารางเหล็กมาจากไหน EP. 2

 

              ต่อจากครั้งก่อนในที่นี้จะเป็นการหาค่าของ
Moment of Inertia (cm.4) = โมเมนต์ความเฉื่อย ในที่นี่ Ix คือ 383 cm.4 และ Iy คือ 134 cm.4
Radius of Gyration (cm.) = รัศมีใจเรชั่น ในมี่นี่ rx คือ 4.2 cm. และ ry คือ 2.47 cm.
Modulus of Section  (cm.3) = ในที่นี่  zx คือ 77 cm.3 และ zy คือ 27 cm.3
 
 
 
 
 
Step 3 หา Moment of Inertia (โมเมนต์ความเฉื่อย)
 
             Moment of Inertia (โมเมนต์ความเฉื่อย) จะใช้ตัว I เป็นสัญญาลักษณ์แทน ซึ่งโมเมนต์ความเฉื่อยส่วนใหญ่จะมีการหมุนในรอบแกนระนาบ (แกน x ) และรอบแกนในแนวดิ่ง (แกน y) ซึ่งเราสามารถหาได้จากสูตรคือ


 
          เมื่อ Ix  = โมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกน x ซึ่งมาจากผลรอบของโมเมนต์ความเฉื่อยย่อย (ตามรูปที่เราแบ่งที่ใช้ในการหาพื้นที่)
             I(x ) ̅ = โมเมนต์ความเฉื่อยรอบตัวในแกนแกน x
             A      = พื้นที่ของรูปที่เราแบ่ง
            dy     = ระยะห่างระหว่าง centride ของพื้นที่ของรูปที่เราแบ่งกับ centride ของพื้นที่รวมทั้งหมดในแกน y

          และ Iy =โมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกน y ซึ่งมาจากผลรอบของโมเมนต์ความเฉื่อยย่อย (ตามรูปที่เราแบ่งที่ใช้ในการหาพื้นที่)
             I(y ) ̅ =โมเมนต์ความเฉื่อยรอบตัวในแกนแกน y
             dx    = ระยะห่างระหว่าง centride ของพื้นที่ของรูปที่เราแบ่งกับ centride ของพื้นที่รวมทั้งหมดในแกน x

การหา centride ในรอบแกน x-y เราสามารถหาได้จาก

เมื่อ ∑〖x ̅A〗 = ผลรวมของระยะห่างระหว่าง centride ของพื้นที่ของรูปที่เราแบ่งกับแกน x คูณกับพื้นที่นั้นๆ
       ∑〖y ̅A〗 = ผลรวมของระยะห่างระหว่าง centride ของพื้นที่ของรูปที่เราแบ่งกับแกน y คูณกับพื้นที่นั้นๆ
       Σ A          = ผลรวมของพื้นทั้งหมด

การหา centride ของแต่ละรูปนั้นเราสามารถหาไห้จากสูตรดังนี้
 
 
 
 
 
 
 
 
 จากรูป

 

 เราสามารถหา (x ) ̅ ได้จาก

 

(x ) ̅=  190.5000/21.900

                                                                        (x ) ̅=  5.0000 cm

เราสามารถหา (y ) ̅ ได้จาก

 

(y ) ̅=  109.5000/21.900
 
                                                                        (y ) ̅=  5.0000 cm.
 
เราสามารถหา Ix ได้จาก
 
 
เราสามารถหา Iy ได้จาก
 
Moment of Inertia ( โมเมนต์ความเฉื่อย) ;  Ix  = 382.7220  = 383 cm.4 และ Iy = 134.268 =  134 cm.4
 
Step 4 หา Radius of Gyration (รัศมีใจเรชั่น )
          เราสามารถหา r ได้จาก
 
 
ดังนั้น
                               = √(383/21.9)    = 4.2 cm.
 
 
 และ
                              = √(134/21.9)    = 2.48 cm.
 

Radius of Gyration (รัศมีใจเรชั่น ) ;  rx = 4.2 cm. และ ry     = 2.48 cm
 
 
 
Step 5 หา Modulus of Section  
           เราสามารถหา z ได้จาก
 
          เมี่อ C = (x ) ̅ และ y ̅
         ดังนั้น 
                                                  =  383/5.00  =76.6=77 〖cm〗^3.
 
          และ    
                                             =  134/5.00  =26.85=27 〖cm〗^3
 
Modulus of Section  ;  zx คือ 77 cm.3 และ zy คือ 27 cm.3